รายงานผลการประเมิน

อ่างทอง

/ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
น้ำหนัก
100
คะแนนการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
-

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • ระบบ TPMAP หมายถึง ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytic Platform : TPMAP) โดย TPMAP เป็นระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนตลอดทุกช่วงวัย และการแก้ไขปัญหาความยากจนและเหลื่อมล้ำแบบชี้เป้า เป็นระบบที่ใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ
  • ระบบ TPMAP ใช้วิธีการคำนวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional Poverty Index : MPI) โดยอาศัยหลักการที่ว่าคนยากจน คือ ผู้ที่มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตที่ดีใน 5 มิติ ได้แก่ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านความเป็นอยู่ และด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ โดยใช้ตัวชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 17 ตัวชี้วัด ในการคำนวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (MPI)
  • กลุ่มเป้าหมายการดำเนินการตามแนวทางการขับเคลื่อนการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หมายถึง จำนวนครัวเรือนเป้าหมายตามระบบ TPMAP ปี 2566 ที่กระทรวงมหาดไทยแจ้งให้จังหวัดดำเนินการเมื่อเดือนมีนาคม 2566 (ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2566) โดยกำหนดให้ติดตาม ดูแล สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือครัวเรือนเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือในระบบ TPMAP Logbook ทุกครั้ง
  • พิจารณาความสำเร็จของการดำเนินงานการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนของศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับพื้นที่ จากจำนวนครัวเรือนเป้าหมายตามระบบ TPMAP ปี 2566 เทียบกับจำนวนครัวเรือนเป้าหมายตามระบบ TPMAP ปี 2566 ที่ผ่านเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2567
  • การประชุมคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เห็นชอบการทบทวนครัวเรือนเป้าหมายตามเงื่อนไขที่กำหนด
    เพื่อเป็นครัวเรือนเป้าหมายในการดำเนินการสำรวจ จปฐ. ตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน 76 จังหวัด จาก 197,298 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2566) เป็น 173,318 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ 27 กุมภาพันธ์ 2567)

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
การขับเคลื่อนการดำเนินงานการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 100.00 (ร้อยละ)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • พิจารณาจากการสำรวจสภาพปัญหายาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน จากระบบสารสนเทศยาเสพติดจังหวัด (NISPA) ครั้งที่ 1 ของปี (ห้วงระยะเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม 2567)
    ครั้งที่ 2 ของปี(ห้วงระยะเวลาตั้งแต่เดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2567)
  • หมู่บ้าน/ชุมชนที่ไม่พบปัญหายาเสพติด หมายถึง หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ไม่พบผู้เสพและไม่มีผู้ค้ายาเสพติด
  • หมู่บ้าน/ชุมชน หมายถึง หมู่บ้านและชุมชนที่ประกาศจัดตั้งอย่างเป็นทางการภายใต้คำสั่งของกระทรวงมหาดไทย
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนที่ไม่พบปัญหายาเสพติด 80.00 (ร้อยละ)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • พิจารณาจากอัตราส่วนจำนวนคดีแต่ละกลุ่มที่รับแจ้งความร้องทุกข์ไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567) เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรในจังหวัดต่อประชากรแสนคน หรือเรียกว่า อัตราส่วนอาชญากรรม (Crime Rate)
  • กำหนดกลุ่มอาชญากรรมที่จะต้องคำนวณอัตราส่วนอาชญากรรมต่อประชากรแสนคน 2 กลุ่ม ได้แก่

- กลุ่มที่ 1 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ นับจำนวนคดีฆ่าผู้อื่น (อุกฉกรรจ์) คดีทำร้ายผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีพยายามฆ่า คดีทำร้ายร่างกาย คดีข่มขืนกระทำชำเรา และคดีอื่น ๆ

(ได้แก่ คดีฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา คดีประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีอนาจารต่าง ๆ เป็นต้น)   (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 1 ฐานความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ)

- กลุ่มที่ 2 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ นับจำนวนคดีปล้นทรัพย์ (อุกฉกรรจ์) คดีชิงทรัพย์ คดีวิ่งราวทรัพย์ คดีลักทรัพย์ คดีกรรโชกทรัพย์ คดีฉ้อโกง คดียักยอกทรัพย์ คดีทำให้เสียทรัพย์ คดีรับของโจร คดีลักพาเรียกค่าไถ่ คดีวางเพลิง และคดีอื่น ๆ

 (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 2 ฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์)

  • จำนวนประชากรของจังหวัดใช้ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
อัตราคดีอาชญากรรมต่อประชากรแสนคน

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • พิจารณาจากอัตราส่วนจำนวนคดีแต่ละกลุ่มที่รับแจ้งความร้องทุกข์ไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567) เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรในจังหวัดต่อประชากรแสนคน หรือเรียกว่า อัตราส่วนอาชญากรรม (Crime Rate)
  • กำหนดกลุ่มอาชญากรรมที่จะต้องคำนวณอัตราส่วนอาชญากรรมต่อประชากรแสนคน 2 กลุ่ม ได้แก่

- กลุ่มที่ 1 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ นับจำนวนคดีฆ่าผู้อื่น (อุกฉกรรจ์) คดีทำร้ายผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีพยายามฆ่า คดีทำร้ายร่างกาย คดีข่มขืนกระทำชำเรา และคดีอื่น ๆ

(ได้แก่ คดีฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา คดีประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีอนาจารต่าง ๆ เป็นต้น)   (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 1 ฐานความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ)

- กลุ่มที่ 2 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ นับจำนวนคดีปล้นทรัพย์ (อุกฉกรรจ์) คดีชิงทรัพย์ คดีวิ่งราวทรัพย์ คดีลักทรัพย์ คดีกรรโชกทรัพย์ คดีฉ้อโกง คดียักยอกทรัพย์ คดีทำให้เสียทรัพย์ คดีรับของโจร คดีลักพาเรียกค่าไถ่ คดีวางเพลิง และคดีอื่น ๆ

 (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 2 ฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์)

  • จำนวนประชากรของจังหวัดใช้ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
อัตราคดีกลุ่มที่ 1 ต่อประชากรแสนคน 12.19 (คดีต่อประชากรแสนคน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • พิจารณาจากอัตราส่วนจำนวนคดีแต่ละกลุ่มที่รับแจ้งความร้องทุกข์ไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567) เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรในจังหวัดต่อประชากรแสนคน หรือเรียกว่า อัตราส่วนอาชญากรรม (Crime Rate)
  • กำหนดกลุ่มอาชญากรรมที่จะต้องคำนวณอัตราส่วนอาชญากรรมต่อประชากรแสนคน 2 กลุ่ม ได้แก่

- กลุ่มที่ 1 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ นับจำนวนคดีฆ่าผู้อื่น (อุกฉกรรจ์) คดีทำร้ายผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีพยายามฆ่า คดีทำร้ายร่างกาย คดีข่มขืนกระทำชำเรา และคดีอื่น ๆ

(ได้แก่ คดีฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา คดีประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีอนาจารต่าง ๆ เป็นต้น)   (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 1 ฐานความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ)

- กลุ่มที่ 2 หมายถึง กลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ นับจำนวนคดีปล้นทรัพย์ (อุกฉกรรจ์) คดีชิงทรัพย์ คดีวิ่งราวทรัพย์ คดีลักทรัพย์ คดีกรรโชกทรัพย์ คดีฉ้อโกง คดียักยอกทรัพย์ คดีทำให้เสียทรัพย์ คดีรับของโจร คดีลักพาเรียกค่าไถ่ คดีวางเพลิง และคดีอื่น ๆ

 (ใช้ข้อมูลจากระบบ CRIMES ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในคดีอาญากลุ่มที่ 2 ฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์)

  • จำนวนประชากรของจังหวัดใช้ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
อัตราคดีกลุ่มที่ 2 ต่อประชากรแสนคน 68.70 (คดีต่อประชากรแสนคน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

14.1 รายได้จากการท่องเที่ยว
14.2 รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP)
14.3 ค่าเฉลี่ยรายปีของปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
14.4 ค่าเฉลี่ยรายปีของปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
14.5 คุณภาพน้ำของแม่น้ำสายหลักอยู่ในเกณฑ์ดี

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • รายได้จากการท่องเที่ยวเป็นยอดรวมของรายได้จากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและรายได้จากการท่องเที่ยวของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
  • ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย หมายถึง นักท่องเที่ยวชาวไทย (ค้างคืน) และนักทัศนาจรชาวไทย (ไม่ค้างคืน)
  • รายได้ของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยพิจารณาจากการซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ระหว่างการท่องเที่ยวในประเทศไทย ทั้งเพื่อตนเองหรือเป็นของฝาก ซึ่งครอบคลุมรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ผู้ที่เดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ที่มิใช่ถิ่นที่อยู่ปกติ) ทั้งแบบพักค้างคืน และเช้าไป-เย็นกลับ
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
รายได้จากการท่องเที่ยว 759.15 (ล้านบาท)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ประเมินจากรายได้การจำหน่ายผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (1 ตุลาคม 2566-30 กันยายน 2567)
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 1,463.65 (ล้านบาท)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • การวัดผลรอบ 6 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายจากการเก็บน้ำในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2566
  • การวัดผลรอบ 12 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

  • ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใช้ค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

  • ข้อมูลคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินพิจารณาจากจุดตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษที่ใช้จัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำ

  • พิจารณาการประเมินผลเป็นรายแหล่งน้ำของจังหวัดเป้าหมาย

  • ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) การประเมินผลลัพธ์ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่
    1. ออกซิเจนละลายน้ำ : DO 
    2. ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ : BOD
    3. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด : TCB 
    4. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มทั้งหมด : FCB 
    5. แอมโมเนีย : NH3-N 
  • ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ มีหน่วยเป็นคะแนน เริ่มจาก 0 ถึง 100 คะแนน ดังนี้
    91-100  คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
    71-90    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี
    61-70    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้
    31-60    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม
    ​​​​​​​0-30      คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
คุณภาพน้ำของแม่น้ำสายหลักอยู่ในเกณฑ์ดี

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • การวัดผลรอบ 6 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายจากการเก็บน้ำในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2566
  • การวัดผลรอบ 12 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
  • ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใช้ค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
  • ข้อมูลคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินพิจารณาจากจุดตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษที่ใช้จัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำ
  • พิจารณาการประเมินผลเป็นรายแหล่งน้ำของจังหวัดเป้าหมาย
  • ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) การประเมินผลลัพธ์ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่
    1. ออกซิเจนละลายน้ำ : DO 
    2. ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ : BOD
    3. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด : TCB 
    4. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มทั้งหมด : FCB 
    5. แอมโมเนีย : NH3-N 
  • ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ มีหน่วยเป็นคะแนน เริ่มจาก 0 ถึง 100 คะแนน ดังนี้
    91-100  คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
    71-90    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี
    61-70    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้
    31-60    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม
    0-30      คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
แม่น้ำเจ้าพระยาตอนบน 68.00 (คะแนน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • การวัดผลรอบ 6 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายจากการเก็บน้ำในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2566
  • การวัดผลรอบ 12 เดือน พิจารณาจากค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
  • ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใช้ค่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) ของลุ่มน้ำและจังหวัดเป้าหมายเฉลี่ยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
  • ข้อมูลคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินพิจารณาจากจุดตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษที่ใช้จัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำ
  • พิจารณาการประเมินผลเป็นรายแหล่งน้ำของจังหวัดเป้าหมาย
  • ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index : WQI) การประเมินผลลัพธ์ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่
    1. ออกซิเจนละลายน้ำ : DO 
    2. ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ : BOD
    3. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด : TCB 
    4. การปนเปื้อนของกลุ่มแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์มทั้งหมด : FCB 
    5. แอมโมเนีย : NH3-N 
  • ค่าคะแนนรวมของคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ มีหน่วยเป็นคะแนน เริ่มจาก 0 ถึง 100 คะแนน ดังนี้
    91-100  คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
    71-90    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี
    61-70    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้
    31-60    คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม
    0-30      คะแนน        คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
แม่น้ำน้อย 53.00 (คะแนน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) น้ำหนัก
ร้อยละ 30 ประกอบด้วย 2 ประเด็นการประเมิน คือ การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล และการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กำหนดให้ดำเนินการครอบคลุมทั้ง 76 จังหวัด ดังนี้

4.2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้ำหนักร้อยละ 20 แบ่งออกเป็น   

(1) การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) กำหนดวัดผลตัวชี้วัดร้อยละความพึงพอใจต่อการให้บริการประชาชนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) น้ำหนักร้อยละ 10

(2) การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงานและข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) กำหนดวัดผลตัวชี้วัดความสำเร็จของการจัดทำบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) เพื่อใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อนประเด็นพัฒนาจังหวัด น้ำหนักร้อยละ 5

(3) การปรับเปลี่ยนหน่วยงานไปสู่ความเป็นดิจิทัล (Digital Transformation) กำหนดวัดผลตัวชี้วัดระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทยของจังหวัด น้ำหนักร้อยละ 5

4.2.2. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้ำหนักร้อยละ 10