รายงานผลการประเมิน

สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)

/ กระทรวงการคลัง
น้ำหนัก
100
คะแนนการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
-

รายละเอียดตัวชี้วัด

(องค์การมหาชนเสนอ : ไม่จำกัดจำนวนแต่ให้มีตัวชี้วัดที่ครอบคลุมทุกวัตถุประสงค์การจัดตั้ง และเลือกจากรายการตัวชี้วัดขององค์การมหาชน – KPIs Basket )

 

รายละเอียดตัวชี้วัด

วัดความสำเร็จของการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา สำหรับโครงการปรับปรุงถนนหมายเลข 67 ช่วงเสียมราฐ-อันลองเวง-จวม/สะงำ ราชอาณาจักรกัมพูชา (โครงการ NR67) หรือโครงการพัฒนาจุดผ่านแดนถาวรสตึงบท และถนนเชื่อมโยงไปยังถนนหมายเลข 5 กัมพูชา ระยะที่ 2 เริ่มกระบวนการตั้งแต่ - การเจรจาและจัดทำเงื่อนไขทางการเงินและสัญญาเงินกู้- การขออนุมัติการให้ความช่วยเหลือทางการเงินต่อคณะกรรมการ รมว.กค. และ ครม.

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
วัดความสำเร็จของการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา สำหรับโครงการปรับปรุงถนนหมายเลข 67 ช่วงเสียมราฐ-อันลองเวง-จวม/สะงำ ราชอาณาจักรกัมพูชา (โครงการ NR67) หรือโครงการพัฒนาจุดผ่านแดนถาวรสตึงบท และถนนเชื่อมโยงไปยังถนนหมายเลข 5 กัมพูชา ระยะที่ 2 เริ่มกระบวนการตั้งแต่ - การเจรจาและจัดทำเงื่อนไขทางการเงินและสัญญาเงินกู้ - การขออนุมัติการให้ความช่วยเหลือทางการเงินต่อคณะกรรมการ รมว.กค. และ ครม. ผ่าน

รายละเอียดตัวชี้วัด

วัดความสำเร็จของการติดตามโครงการสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 5 โดยโครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการร่วมกันระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาล สปป.ลาว ซึ่งในการบริหารโครงการมีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมไทย - สปป.ลาว เพื่อบริหารจัดการโครงการในภาพรวมให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน มีการประสานแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและบรรลุผลสำเร็จ เป็นโครงการที่สนับสนุนนโยบาย Connectivity พัฒนาระบบโลจิสติกส์ระหว่างไทยและ สปป.ลาว ที่เสริมสร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมระหว่างไทย - ลาว - เวียดนาม - จีน

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
วัดความสำเร็จของการติดตามโครงการสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 5 โดยโครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการร่วมกัน ระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาล สปป.ลาว ซึ่งในการบริหารโครงการมีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมไทย - สปป.ลาว เพื่อบริหารจัดการโครงการในภาพรวมให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน มีการประสานแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและบรรลุผลสำเร็จ เป็นโครงการที่สนับสนุนนโยบาย Connectivity พัฒนาระบบโลจิสติกส์ระหว่างไทยและ สปป.ลาว ที่เสริมสร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมระหว่างไทย - ลาว - เวียดนาม - จีน 100.00 (ร้อยละ)

รายละเอียดตัวชี้วัด

มูลค่าการค้าชายแดน พิจารณาจากมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้า ณ ด่านบ้านฮวก (โครงการปรับปรุงและก่อสร้างถนนช่วงบ้านฮวก จ.พะเยา-เมืองคอบ-เมืองเชียงฮ่อน และเมืองคอบ-บ้านก้อนตื่น สปป.ลาว) และด่านภูดู่ (โครงการก่อสร้างถนนจากภูดู่ (อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์)–เมืองปากลาย แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว) โดย สพพ. จะรวบรวมข้อมูลจากด่านศุลกากรเชียงของ และด่านศุลกากรทุ่งช้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายละเอียดตัวชี้วัด

มูลค่าการค้าชายแดน พิจารณาจากมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้า ณ ด่านบ้านฮวก (โครงการปรับปรุงและก่อสร้างถนนช่วงบ้านฮวก จ.พะเยา-เมืองคอบ-เมืองเชียงฮ่อน และเมืองคอบ-บ้านก้อนตื่น สปป.ลาว) และด่านภูดู่(โครงการก่อสร้างถนนจากภูดู่ (อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์)–เมืองปากลาย แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว) โดย สพพ. จะรวบรวมข้อมูลจากด่านศุลกากรเชียงของ และด่านศุลกากรทุ่งช้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
มูลค่าการค้าชายแดน พิจารณาจากมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้า ณ ด่านบ้านฮวก (โครงการปรับปรุงและ ก่อสร้างถนนช่วงบ้านฮวก จ.พะเยา-เมืองคอบ-เมืองเชียงฮ่อน และเมืองคอบ-บ้านก้อนตื่น สปป.ลาว) 988.55 (ล้านบาท)

รายละเอียดตัวชี้วัด

มูลค่าการค้าชายแดน พิจารณาจากมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้า ณ ด่านบ้านฮวก (โครงการปรับปรุงและก่อสร้างถนนช่วงบ้านฮวก จ.พะเยา-เมืองคอบ-เมืองเชียงฮ่อน และเมืองคอบ-บ้านก้อนตื่น สปป.ลาว) และด่านภูดู่ (โครงการก่อสร้างถนนจากภูดู่ (อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์)–เมืองปากลาย แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว) โดย สพพ. จะรวบรวมข้อมูลจากด่านศุลกากรเชียงของ และด่านศุลกากรทุ่งช้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
พิจารณาจากมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้า ณ ด่านภูดู่(โครงการก่อสร้างถนนจากภูดู่ (อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์)–เมืองปากลาย แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว) โดย สพพ. จะรวบรวมข้อมูลจากด่านศุลกากรเชียงของ และด่านศุลกากรทุ่งช้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2,447.13 (ล้านบาท)

รายละเอียดตัวชี้วัด

วัดระดับความสำเร็จของโครงการศึกษาโอกาสและข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และทางวิชาการแก่ภูฏาน ศรีลังกา และติมอร์-เลสเต  เริ่มกระบวนการตั้งแต่การจัดทำขอบเขตการดำเนินงาน (Terms of Reference: TOR) การคัดเลือกที่ปรึกษาเพื่อดำเนินงาน และการรายงานผลการศึกษาต่อคณะกรรมการ

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
วัดระดับความสำเร็จของโครงการศึกษาโอกาสและข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และทางวิชาการแก่ภูฏาน ศรีลังกา และติมอร์-เลสเต เริ่มกระบวนการตั้งแต่การจัดทำขอบเขตการดำเนินงาน (Terms of Reference: TOR) การคัดเลือกที่ปรึกษาเพื่อดำเนินงาน และการรายงานผลการศึกษาต่อคณะกรรมการ ผ่าน

รายละเอียดตัวชี้วัด

การหารายได้ของ สศท. เกิดจาก
1. ค่าเช่าพื้นที่ ณ อาคารศาลาพระมิ่งมลคล และอาคารตลาด
2. รายได้จากค่าบริหารการขายสินค้าฝากจ าหน่าย ณ จุดจ าหน่าย สศท. สนามบินสุวรรณภูมิและสนามบินภูเก็ต (ค่าบริหารการขายบวก 5-10%
ของราคาสินค้าที่ฝากจ าหน่าย
 

รายละเอียดตัวชี้วัด

ความสามารถในการลดภาระงบประมาณภาครัฐ หมายถึง การนำเงินที่ได้รับจากการรับชำระคืนเงินต้นโครงการเงินกู้ดอกเบี้ยจากการชำระโครงการเงินกู้ และดอกเบี้ยเงินฝาก มาบริหารจัดการดำเนินงานของ สพพ. บางส่วนทดแทนการขอรับจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดิน

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ความสามารถในการลดภาระงบประมาณภาครัฐ หมายถึง การนำเงินที่ได้รับจากการรับชำระคืนเงินต้นโครงการเงินกู้ ดอกเบี้ยจากการชำระโครงการเงินกู้ และดอกเบี้ยเงินฝาก มาบริหารจัดการดำเนินงานของ สพพ. บางส่วนทดแทนการขอรับจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดิน 499.38 (ล้านบาท)

รายละเอียดตัวชี้วัด

วัดความสำเร็จของการจัดหาแหล่งเงินทุนอื่นนอกเหนือจากเงินงบประมาณสำหรับการเบิกจ่ายโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศเพื่อนบ้าน

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
วัดความสำเร็จของการจัดหาแหล่งเงินทุนอื่นนอกเหนือจากเงินงบประมาณสำหรับการเบิกจ่ายโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศเพื่อนบ้าน ผ่าน
วงเงินกู้ 300 ล้านบาท ไม่ผ่าน
วงเงินกู้ มากกว่า 300 ล้านบาท ไม่ผ่าน

รายละเอียดตัวชี้วัด

หลักการ :

กำหนดประเมินตามมติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง กรอบวงเงินรวมสำหรับค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสำหรับองค์การมหาชน แล้วมีมติสรุปได้ดังนี้

          (๑) เห็นชอบการกำหนดกรอบวงเงินรวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรฯ ให้ไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของแผนการใช้จ่ายเงินประจำปี ให้กับองค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และองค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ รวมถึงองค์การมหาชน  ทั้งสองประเภทที่จะได้รับ
การจัดตั้งในภายหลังด้วย ยกเว้นองค์การมหาชน จำนวน ๕ แห่ง ได้แก่ ๑) โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๒) สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ๓) สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ๔) องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และ ๕) สถาบันเพื่อ
การยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ ๓๒ ของแผนการใช้จ่ายเงิน และสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน (องค์การมหาชน) กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ ๖๐ ของแผนการใช้จ่ายเงิน

          (๒) ให้องค์การมหาชนที่มีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเกินกว่ากรอบวงเงินรวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเมื่อเทียบกับแผนการใช้จ่ายเงินประจำปีที่กำหนดใหม่ เสนอ กพม. พิจารณาโดยจะต้องส่งแผนการปรับปรุงค่าใช้จ่าย ด้านบุคลากรเป็นเวลา ๓ ปี เป็นข้อมูลประกอบด้วย เพื่อเป็นแนวทางควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยงานของรัฐ มิให้เป็นภาระงบประมาณในระยะยาว 

          (๓) กำหนดให้คณะกรรมการองค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะและองค์การมหาชน
ที่จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม รับผิดชอบกำกับการใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ และให้สำนักงาน ก.พ.ร. จัดให้มีกลไก
ในการทบทวนความเหมาะสมของสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรขององค์การมหาชนแต่ละแห่งอย่างต่อเนื่อง
โดยคำนึงถึงภารกิจ รายได้ และเงินทุนสะสมของแต่ละองค์การมหาชน รวมทั้งยึดหลักการที่มิให้มีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเกินกว่าความจำเป็นและไม่เป็นภาระงบประมาณของประเทศ

เงื่อนไข :

          ๑) องค์การมหาชนที่ได้รับการยกเว้นกรอบวงเงินค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร จาก กพม. ให้ยกเลิก
               และตัดน้ำหนักของตัวชี้วัดนี้ 

          ๒) องค์การมหาชนต้องแสดงเอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามในการลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร

         

นิยาม :

          ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร หมายถึง ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรที่เป็นไปตามสิทธิของบุคคล ได้แก่

          ๑) เงินเดือนและค่าจ้าง

          ๒) ค่าสวัสดิการ เช่น เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตร ค่ารักษาพยาบาล ค่ารักษาพยาบาลบุคคล
ในครอบครัว เงินประกันชีวิตและสุขภาพ ค่าตรวจสุขภาพประจำปี เงินสมทบจ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินสงเคราะห์กรณีถึงแก่กรรม ค่าชดเชย เป็นต้น

๓) ค่าตอบแทนผันแปรผู้อำนวยการ

งบประมาณค่าใช้จ่ายตามแผนการใช้จ่ายเงิน หมายถึง วงเงินงบประมาณขององค์การมหาชน
ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการองค์การมหาชนให้ใช้เพื่อดำเนินการในปีงบประมาณนั้น ๆ ซึ่งอาจ มีที่มาของเงินประกอบด้วย

๑) เงินอุดหนุน หมายถึง เงินอุดหนุนทั่วไปที่องค์การมหาชนได้รับการจัดสรรตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ โดยไม่รวมค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

๒) เงินทุน หมายถึง กำไรสะสมตามมาตรฐานบัญชี ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการให้ใช้ในปีงบประมาณปัจจุบัน หรือหมายถึง เงินรายได้สุทธิที่เหลือสะสมมาจนถึงปีงบประมาณก่อนหน้า ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการให้ใช้ในปีงบประมาณปัจจุบัน รวมกับเงินเหลือจ่ายจากปีงบประมาณที่แล้ว ซึ่งขอเปลี่ยนแปลงมาใช้ในปีงบประมาณปัจจุบัน

          หมายเหตุ จำนวนเงินของ "เงินทุน" จะไม่รวมถึงจำนวนของ "เงินทุน" ที่ขออนุมัติเพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้าง

๓) เงินรายได้ หมายถึง ประมาณการรายได้ขององค์การมหาชนในปีงบประมาณนั้น ซึ่งปรากฏตามเอกสารงบประมาณประจำปี โดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ (๑) รายได้จากการดำเนินงาน เช่น ค่าธรรมเนียม
การให้บริการ เป็นต้น และ (๒) รายได้อื่น ๆ ได้แก่ ดอกเบี้ยเงินฝาก เงินค่าปรับ และเงินบริจาคต่างๆ

          หมายเหตุ จำนวนเงินของ "เงินรายได้" จะไม่รวมถึงจำนวนของ "เงินรายได้" ที่ขออนุมัติเพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้าง

 

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
๑. ร้อยละค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรไม่เกินกรอบวงเงินรวมฯ ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ผ่าน
๒. ร้อยละค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ไม่สูงกว่าร้อยละค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรตามแผนที่เสนอต่อคณะกรรมการองค์การมหาชน ณ ต้นปีงบประมาณ ผ่าน

รายละเอียดตัวชี้วัด

(ตัวชี้วัดบังคับ)

 

รายละเอียดตัวชี้วัด

การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อน าไปสู่การเปิดเผยข้อมูล ภาครัฐ (Open Data) : การให้ความ ช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Assistance: TA)

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยข้อมูล ภาครัฐ (Open Data) : การให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Assistance: TA) 100.00 (คะแนน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

•กลุ่มที่ 3: องค์การมหาชนที่มีผลการประเมิน PMQA 4.0 ประจำปี พ.ศ. 2564 ตั้งแต่ 400 คะแนนขึ้นไป

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 447.86 (คะแนน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

หลักการ :
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมกำหนดให้องค์การมหาชนไม่ต้อง
อยู่ในกรอบของกฎระเบียบราชการเพื่อให้การบริหารงานมีความอิสระ คล่องตัว และให้อำนาจหน้าที่
คณะกรรมการองค์การมหาชนในการควบคุมดูแล กำหนดนโยบายและทิศทางการปฏิบัติงาน ให้ความเห็นชอบ
แผนการดำเนินงาน อนุมัติแผนการลงทุนและแผนการเงิน ตลอดจนออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรื อ
ข้อกำหนดต่างๆ คณะกรรมการฯ ควรทบทวนบทบาทขององค์การมหาชนให้สามารถตอบสนองต่อสภาพการณ์
ปัจจุบันและความต้องการของผู้รับบริการ

ประเด็นการประเมินด้านการควบคุมดูแลกิจการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการปรับปรุง
แนวทางการประเมินให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2561 เรื่อง
แนวทางการควบคุมดูแลกิจการของคณะกรรมการองค์การมหาชน และเพิ่มเติมประเด็นการประเมินตามบทบาท
สำคัญอื่น ๆ เช่น การกำกับให้องค์การมหาชนคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและการตอบสนองต่อประชาชน เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงแนวทางการประเมินให้เป็นไปในเชิงคุณภาพที่ให้มีการดำเนินงานครอบคลุมประเด็น
ที่ต้องให้ความสำคัญ มากกว่าการประเมินในเชิงปริมาณ เช่น การนับจำนวนครั้งในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
 

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
1. การวางแผนยุทธศาสตร์ (ร้อยละ 15) 2. การบริหารทางการเงิน (ร้อยละ 10) 3. การบริหารทรัพยากรบุคคล (ร้อยละ 15) 4. การควบคุมภายใน (ร้อยละ 10) 5. การบริหารทั่วไป (ร้อยละ 15) 6. การคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/การตอบสนองต่อประชาชน (ร้อยละ 15) 7. การบริหารการประชุม (ร้อยละ 5) 8. การประเมินผลการปฏิบัติงานองค์การมหาชน (ร้อยละ 10) 9. การประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการองค์การมหาชน (ร้อยละ 5) 100.00 (คะแนน)