รายงานผลการประเมิน

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

/ สำนักนายกรัฐมนตรี
น้ำหนัก
100
คะแนนการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
-

รายละเอียดตัวชี้วัด

นิยาม : 1.  ระบบการจัดการเรื่องร้องทุกข์ มีมาตรฐานกลางและพร้อมรองรับการเชื่อมโยง หมายถึง สปน. ได้กำหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ เพื่อให้เป็นมาตรฐานกลางที่ใช้  เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภายนอก และพัฒนาระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของ สปน. ให้เป็นไปตามมาตรฐานกลาง          ที่กำหนด

             2.  มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ (มาตรฐานกลาง) หมายถึง มาตรฐานสำคัญจำเป็นที่ต้องใช้ในการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ เช่น มาตรฐานรายการข้อมูล มาตรฐานคำอธิบายข้อมูล  มาตรฐานรหัสข้อมูล และมาตรฐานรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

             3.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมายถึง หน่วยงานที่มีความพร้อมและประสงค์เชื่อมโยงฐานข้อมูลกับระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของ สปน. ตามที่ได้กำหนดไว้ใน Roadmap ของแต่ละปี (2565 - 2567)

             4.  Roadmap แนวทางขับเคลื่อนการเชื่อมโยง ประกอบด้วย การบูรณาการความร่วมมือด้านเทคนิคกับทีมผู้เชี่ยวชาญ การประชุมหน่วยงานเพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การจัดทำมาตรฐานกลางสำหรับใช้เชื่อมโยงข้อมูล และพัฒนาระบบการจัดการเรื่องร้องทุกข์ตามมาตรฐานกลางที่กำหนดพร้อมรองรับการเชื่อมโยงข้อมูล เป็นต้น

             5.  แผนปฏิบัติงาน หมายถึง แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ขั้นตอนวิธีการ ซึ่งเกิดจากการแปลงค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ใน Roadmap ของหน่วยงาน        เป้าหมายไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ ปัจจัยความสำเร็จของแผนปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับความร่วมมือและความพร้อมของหน่วยงานเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแต่ละปี

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
มีแผนปฏิบัติงานเตรียมความพร้อมในการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผ่านความเห็นชอบจากปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผ่าน
ร้อยละของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานฯในปี 2565   100.00 (ร้อยละ)

รายละเอียดตัวชี้วัด

คำอธิบาย

เป็นการวัดความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ตามประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล โดยแบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ คือ

1. ความสำเร็จในการติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว ได้แก่ การฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของประชาชนหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวม  การจัดการแหล่งน้ำชุมชนภาคการเกษตร  การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนในโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.)  และการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ

2.  ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2565 ตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการจากแผนการตรวจราชการบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ ผต.นร. ดังนี้

  (1)  การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

  (2) การจัดการสิ่งแวดล้อมสีเขียวเพื่อความยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)

  (3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน

  (4) การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์

  (5) การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก

นิยาม

1.ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการ หมายถึง มีการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 ด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีสรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการ เพื่อรายงาน นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย แล้วแต่กรณีตามความเหมาะสม รวมทั้ง
มีการตรวจราชการตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการที่คัดเลือกมาดำเนินการ ในปี 2565 โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย เป็นรายเขตหรือในภาพรวม  

2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หมายถึง ข้อเสนอแนวทางเพื่อแก้ไข/ปรับปรุง/พัฒนาการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือเพื่อเสริมสร้าง/บูรณาการการดำเนินงานเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาในด้านต่าง ๆ หรือเพื่อป้องกัน/แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร.
ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีการสั่งการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานต่อไป

3. การติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. หมายถึง การมีกระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิด
การดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้มีหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว

4. กระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิดการดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 โดย สปน. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้รายงานผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะให้ สปน. ทราบ หรือมีการดำเนินการ ดังนี้  

    4.1  กรณีที่หน่วยงานนำข้อเสนอแนะไปดำเนินการและสามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ ให้หน่วยงานมีรายงานผลการพิจารณาหรือผลการ

            ดำเนินการแจ้งให้ สปน. ทราบ

    4.2  กรณีที่หน่วยงานยังไม่ได้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ หรือดำเนินการแล้ว แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ สปน. มีการดำเนินการ ดังนี้

•ติดตามและเร่งรัดการดำเนินการเพื่อขอทราบผลการพิจารณา หรือขอทราบความคืบหน้าในการดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

•ติดตามปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการ โดยมีข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการของส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพิ่มเติม และรายงานผลไปยัง นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย

แหล่งที่มาของข้อมูล

1. สรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะในปี 2564 ของ ผต.นร. เพื่อรายงาน รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย หรือ ร.นรม. หรือ นรม. แล้วแต่กรณี
    ตามความเหมาะสม

2. สรุปรายงานผลการตรวจราชการ ปี 2565 รายเขตหรือในภาพรวม ซึ่งมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย
    เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดตัวชี้วัด

คำอธิบาย

เป็นการวัดความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ตามประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล โดยแบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ คือ

1. ความสำเร็จในการติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว ได้แก่ การฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของประชาชนหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวม  การจัดการแหล่งน้ำชุมชนภาคการเกษตร  การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนในโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.)  และการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ

2.  ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2565 ตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการจากแผนการตรวจราชการบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ ผต.นร. ดังนี้

  (1)  การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

  (2) การจัดการสิ่งแวดล้อมสีเขียวเพื่อความยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)

  (3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน

  (4) การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์

  (5) การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก

นิยาม

1.ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการ หมายถึง มีการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 ด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีสรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการ เพื่อรายงาน นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย แล้วแต่กรณีตามความเหมาะสม รวมทั้ง

มีการตรวจราชการตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการที่คัดเลือกมาดำเนินการ ในปี 2565 โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย เป็นรายเขตหรือในภาพรวม  

2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หมายถึง ข้อเสนอแนวทางเพื่อแก้ไข/ปรับปรุง/พัฒนาการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือเพื่อเสริมสร้าง/บูรณาการการดำเนินงานเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาในด้านต่าง ๆ หรือเพื่อป้องกัน/แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร.

ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีการสั่งการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานต่อไป

3. การติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. หมายถึง การมีกระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิดการดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้มีหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว

4. กระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิดการดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 โดย สปน. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้รายงานผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะให้ สปน. ทราบ หรือมีการดำเนินการ ดังนี้  

    4.1  กรณีที่หน่วยงานนำข้อเสนอแนะไปดำเนินการและสามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ ให้หน่วยงานมีรายงานผลการพิจารณาหรือผลการ

         ดำเนินการแจ้งให้ สปน. ทราบ

4.2  กรณีที่หน่วยงานยังไม่ได้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ หรือดำเนินการแล้ว แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ สปน. มีการดำเนินการ ดังนี้

•ติดตามและเร่งรัดการดำเนินการเพื่อขอทราบผลการพิจารณา หรือขอทราบความคืบหน้าในการดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

•ติดตามปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการ โดยมีข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการของส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพิ่มเติม และรายงานผลไปยัง นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย

แหล่งที่มาของข้อมูล

1. สรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะในปี 2564 ของ ผต.นร. เพื่อรายงาน รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย หรือ ร.นรม. หรือ นรม. แล้วแต่กรณีตามความเหมาะสม

2. สรุปรายงานผลการตรวจราชการ ปี 2565 รายเขตหรือในภาพรวม ซึ่งมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย

เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2565 5.00 (ประเด็น)

รายละเอียดตัวชี้วัด

เป็นการวัดความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ตามประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล โดยแบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ คือ

1. ความสำเร็จในการติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว ได้แก่ การฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของประชาชนหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวม  การจัดการแหล่งน้ำชุมชนภาคการเกษตร  การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนในโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.)  และการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ

2.  ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ประจำปี 2565 ตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการจากแผนการตรวจราชการบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ ผต.นร. ดังนี้

  (1)  การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

  (2) การจัดการสิ่งแวดล้อมสีเขียวเพื่อความยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)

  (3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน

  (4) การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์

  (5) การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก

นิยาม

1.ความสำเร็จของการตรวจราชการแบบบูรณาการ หมายถึง มีการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 ด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีสรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการ เพื่อรายงาน นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย แล้วแต่กรณีตามความเหมาะสม รวมทั้ง

มีการตรวจราชการตามประเด็นสำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ประเด็นการตรวจราชการที่คัดเลือกมาดำเนินการ ในปี 2565 โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย เป็นรายเขตหรือในภาพรวม  

2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หมายถึง ข้อเสนอแนวทางเพื่อแก้ไข/ปรับปรุง/พัฒนาการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือเพื่อเสริมสร้าง/บูรณาการการดำเนินงานเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาในด้านต่าง ๆ หรือเพื่อป้องกัน/แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร.

ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีการสั่งการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานต่อไป

3. การติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะจากตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. หมายถึง การมีกระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิด

การดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 จำนวน 4 ประเด็น ซึ่ง สปน. ได้มีหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว

4. กระบวนการในการติดตาม เร่งรัด ขับเคลื่อน ให้เกิดการดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผต.นร. ในปี 2564 โดย สปน. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้รายงานผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะให้ สปน. ทราบ หรือมีการดำเนินการ ดังนี้  

    4.1  กรณีที่หน่วยงานนำข้อเสนอแนะไปดำเนินการและสามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ ให้หน่วยงานมีรายงานผลการพิจารณาหรือผลการ ดำเนินการแจ้งให้ สปน. ทราบ

4.2  กรณีที่หน่วยงานยังไม่ได้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ หรือดำเนินการแล้ว แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรคให้คลี่คลายหรือยุติลงได้ สปน. มีการดำเนินการ ดังนี้

•ติดตามและเร่งรัดการดำเนินการเพื่อขอทราบผลการพิจารณา หรือขอทราบความคืบหน้าในการดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

•ติดตามปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการ โดยมีข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการของส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพิ่มเติม และรายงานผลไปยัง นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย

แหล่งที่มาของข้อมูล

1. สรุปรายงานการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะในปี 2564 ของ ผต.นร. เพื่อรายงาน รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมาย หรือ ร.นรม. หรือ นรม. แล้วแต่กรณีตามความเหมาะสม

2. สรุปรายงานผลการตรวจราชการ ปี 2565 รายเขตหรือในภาพรวม ซึ่งมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เสนอต่อ นรม. หรือ ร.นรม. หรือ รมต.นร. ที่ได้รับมอบหมายเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ประเด็น​การติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปี 2564 ของ ผต.นร. 4 (ประเด็น)

รายละเอียดตัวชี้วัด

•นิยาม : เป็นการวัดการติดตามและประเมินผลภารกิจที่ได้ดำเนินการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเป็นการติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ นำเสนอคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณากำหนดนโยบาย แนวทาง มาตรการ เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ในการติดตามประเมินผลให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

•ขอบเขตการประเมิน :

        1. จัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การติดตามและประเมินผลการถ่ายโอนงานตาม พ.ร.บ. กระจายอำนาจ ตามแผนฯ 1 และ แผนฯ 2

            เสนอคณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล พิจารณา

2. จัดทำรายงานผลการติดตามและประเมินผลการถ่ายโอนงานตาม พ.ร.บ. กระจายอำนาจ ตามแผนฯ 1 และ แผนฯ 2
3. นำเสนอรายงานผลการติดตามและประเมินผลการถ่ายโอนงานตาม พ.ร.บ. กระจายอำนาจ ตามแผนฯ 1 และ แผนฯ 2 เสนอต่
    อคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล และคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

•วิธีการเก็บข้อมูล : การติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยออกแบบติดตามฯ หรือการติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ หรืออื่น ๆ

•แหล่งที่มาของข้อมูล : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ร้อยละการดำเนินการตามแผนงานติดตามและประเมินผลฯ ในปี 2565 100.00 (ร้อยละ)
มีรายงานและนำเสนอรายงานผลการติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลต่อคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหนังสือแจ้งส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อติดตามการดำเนินงาน ผ่าน

รายละเอียดตัวชี้วัด

•นิยาม : ข้อมูลข่าวสาร หมายถึง ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 7 และมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 7 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามที่กฎหมายกำหนดเป็นการทั่วไปอย่างแพร่หลาย และมาตรา 9 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2554 ให้หน่วยงานของรัฐนำข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 7 และมาตรา 9 เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานโดยประชาชนไม่ต้องร้องขอ

•หน่วยงานของรัฐในส่วนท้องถิ่น : หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท

•เกณฑ์มาตรฐาน : หมายถึง หลักเกณฑ์การแสดงข้อมูลข่าวสารที่กำหนดขึ้นโดยสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
                           (ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการปรับเกณฑ์การประเมินที่เน้นการประเมินเชิงคุณภาพ)

•การประเมินการผ่านเกณ์มาตรฐาน : หมายถึง ร้อยละของหน่วยงานเข้าร่วมโครงการฯ ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

•ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร : หมายถึง ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์

•ขอบเขตการประเมิน : หน่วยงานของรัฐในส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมการสัมมนาและจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

•วิธีการเก็บข้อมูล : ตรวจศูนย์ข้อมูลข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยการลงพื้นที่หรือผ่านระบบออนไลน์

•แหล่งที่มาของข้อมูล : สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

 

  เป้าหมาย (จำนวนหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการฯ) ปีงบประมาณ 2565  = 1,200 หน่วยงาน

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ร้อยละความสำเร็จของหน่วยงานของรัฐในส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 55.00 (ร้อยละ)

รายละเอียดตัวชี้วัด

คำนิยาม
• บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐ
• คำอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กำหนด หมายถึง คำอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สำหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับ ต้องทำการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคำอธิบายข้อมูลจำนวน 14 รายการสำหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทำและระบุรายละเอียด
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทำหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ
• ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนำไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ

แนวทางการประเมิน 
1) ส่วนราชการต้องเลือกประเด็นการดำเนินงานภายใต้ Focus Areas ที่กำหนด (จำนวน 10 ด้าน) อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่สอดคล้องกับการให้บริการ e-Service ของหน่วยงาน หรือภารกิจด้านนโยบาย ที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทำบัญชีชุดข้อมูล (Data Catalog)
2) ส่วนราชการต้องจัดทำชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กับกระบวนการทำงานตามประเด็นการดำเนินงานภายใต้ Focus Areas โดยต้องเป็นกระบวนการทำงานภายใต้ภารกิจหลักที่มีผลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง
3) ให้มีคำอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กำหนด
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน  (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตามในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป
5) กำหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล ต่อสาธารณะ ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กำหนด
6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนำชุดข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้
7) การนำข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม  ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนำชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน  เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล  / การมี dashboard จากชุดข้อมูล เป็นต้น

10 Focus Areas
1) ด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม SME
2) ด้านการเกษตร
3) ด้านท่องเที่ยว
4) ด้านการมีรายได้และการมีงานทำ
5) ด้านความเหลื่อมล้ำทางสิทธิสวัสดิการประชาชน
6) ด้านสุขภาพและการสาธารณสุข
7) ด้านการศึกษา
8) ด้านสิ่งแวดล้อม
9) ด้านการบริหารจัดการภาครัฐ
10) ด้านความมั่นคง

เงื่อนไข
1. หน่วยงานที่มี e-Service ให้เลือก Dataset ที่เกี่ยวข้องกับงานบริการที่หน่วยงานรับผิดชอบ
2. หน่วยงานด้านนโยบาย เลือก Dataset ที่สนันสนุนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปประเทศ Agenda สำคัญ และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นได้
3. ในแต่ละชุดข้อมูล (Data Set) ต้องมีการจัดทำคำอธิบายข้อมูล (Metadata) ครบถ้วนจำนวน 14 รายการ หากส่วนราชการมีการจัดทำรายละเอียดไม่ครบ 14 รายการ ในแต่ละชุดข้อมูล จะไม่นับผลการดำเนินงาน
4. หน่วยงานเดิมที่มีการดำเนินการตัวชี้วัดนีในปี 2564 ให้คัดเลือกชุดข้อมูลใหม่มาดำเนินการในปี 2565 โดยสามารถนำชุดข้อมูลของปี 2564 มาต่อยอดทำให้ครบ ได้ใน Focus Area ที่คัดเลือก

เกณฑ์การประเมิน
- เป้าหมายขั้นต้น (50) = มีรายชื่อชุดข้อมูล (Data Set) ที่สัมพันธ์กับกระบวนการทำงานตามประเด็นการดำเนินงานภายใต้ Focus Area
เป้าหมายมาตรฐาน (75) = มีคำอธิบายข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กำหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล (15 คะแนน) / มีระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน  (Agency Data Catalog) พร้อมแจ้ง URL ระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน  (10 คะแนน)
เป้าหมายขั้นสูง (100) = นำขึ้นชุดข้อมูล metadata และระบุแหล่งข้อมูล สำหรับชุดข้อมูลที่ถูกจัดในหมวดหมู่สาธารณะ ร้อยละ 100 ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมดบนระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน  เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ตามมาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร.กำหนด (20 คะแนน) / นำข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็นภายใต้ของ Focus area อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)

หมายเหตุ สำนักงานสถิติแห่งชาติ และสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) จะตรวจเอกสารหลักฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด และสรุปผลคะแนนการพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) เพื่อเป็นผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดนี้

ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
คะแนนการพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) 100.00 (คะแนน)

รายละเอียดตัวชี้วัด

  • PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน
  • พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดำเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้าหมายให้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขึ้นจากผลคะแนนในขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
  • พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4  การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้  หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ประเด็นการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 414.08 (คะแนน)